วันเสาร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2556

สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการอ่านวิจัย



วิจัย

การพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยโดยการใช้รูปแบบ
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้




.................................................................................................................

สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากบทความ




บทความเรื่อง  การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ปฐมวัย 



 สรุปองค์ความรู้
               
             การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย ช่วยให้เด็กได้พัฒนาคุณลักษณะตามวัยที่สำคัญ 4 ด้านได้แก่ ด้านร่างกาย การจัดกิจกรรมให้เด็กได้สำรวจสิ่งต่างๆรอบตัว เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าและใช้อุปกรณ์สำรวจอย่างง่าย ซึ่งเป็นการพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก  ด้านอารมณ์และจิตใจ การจัดกิจกรรมสำรวจและทดลอง เด็กได้รู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเอง รู้จักใช้เหตุผล กล้าตัดสินใจ ได้แสดงผลงานและความสามารถจากการสำรวจด้านสังคม เด็กได้ฝึกการช่วยเหลือตนเองในการทำกิจกรรม รู้จักทำงานร่วมกับเพื่อน รู้จักการให้และการรับ ฝึกการปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือข้อตกลงร่วมกัน และเห็นคุณค่าของสิ่งแวดล้อมรอบตัวและช่วยกันดูและรักษา ด้านสติปัญญา เด็กได้พัฒนาความสามารถในการถามคำถามเชิงวิทยาศาสตร์ การค้นหาคำตอบด้วยวิธีการต่างที่เหมาะสมกับวัย ได้บอกลักษณะของสิ่งที่สำรวจพบด้วยคำพูด การวาดภาพ ได้เรียนรู้ใหม่และบอกวิธีการเรียนรู้ของตนเอง 

สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการดูโทรทัศน์ครู


สอนวิทย์คิดสนุกกับเด็กปฐมวัย

                                            http://www.thaiteachers.tv/vdo2.php?id=3504



             นำเสนอสื่อการทดลองวิทยาศาสตร์ของ คุณครูกรรณิการ์ เฉิน เพื่อเป็นเทคนิคในการพัฒนาการของเด็กปฐมวัยโดยใช้วัสดุรอบตัว โดยใช้น้ำตาลก้อนหยดสีลงไปแล้วดูการเปลี่ยนแปลง, การใช้กระดาษทิชชูอธิบายความลับของสีดำซึ่งมีสีอื่นๆ ซ่อนอยู่มากมาย หรือการอธิบายเรื่องแรงตึงของผิวน้ำโดยใช้อุปกรณ์ง่ายๆ ที่อยู่รอบตัวในการอธิบายให้เห็นภาพ และเข้าใจได้ง่ายๆ


การเข้าเรียนครั้งที่ 18

วันที่ 29 กันยายน 2556

เรียนชดเชยครั้งที่ 2

กิจกรรมการเรียนการสอน


องค์ความรู้ที่ได้รับ
    -วันนี้ อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำเสนอสื่อวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับการทดลอง
    





วัสดุอุปกรณ์
  1. ลูกโป่ง
  2. แก้วน้ำเหลือใช้
  3. ที่สูบลูกโป่ง
  4. จานแบนใส่น้ำมานิดหนึ่ง


วิธีทำ 
  1. เอาปากแก้วจุ่มลงไปในน้ำเล็กน้อย 
  2. เป่าลูกโป่ง (ขนาดตามต้องการ)
  3. เอาแก้วทั้งสองในประกบติดที่ลูกโป่ง(คนละด้าน)
  4. ตกแต่งลูปโป่งตามใจชอบ

หลักการทางวิทยาศาสตร์

        เมื่่อเรากดแก้วติดกับลูกโป่ง จะทำให้ส่วนโค้งของผิวลูกโป่งอยู่ลึกเข้าไปในปากแก้ว พอเป่าลมเข้าไปเรื่อยๆทำให้ลูกโป่งขยายตัวขึ้น ความโค้งของผิวจะลดลง เนื้อที่ภายในแก้วจึงเพิ่มขึ้น แต่ปริมานของอากาศมีเท่าเดิม จึงทำให้ความดันในแก้วลดลงน้อยกว่าความดันของอากาศภายนอก เกิดภาวะที่เรียกว่าศูนย์ยากาศบางส่วน ความดันอากาศภายนอกจึงดันแก้วให้ติดแน่นอยู่บนผิวของลูกโป่ง
        ประโยชน์ของความดันอากาศ ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน  เช่น การดูดหมึกเข้าไปในปากกาหมึกซึม , ลูกยางติดกระจกในห้องน้ำ





วันพุธที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2556

การเข้าเรียนครั้งที่ 17

วันที่ 25 กันยายน 2556


กิจกกรรมการเรียนการสอน

องค์ความรู้ที่ได้รับ

-  วันนี้อาจารย์ให้สรุปองค์ความรู้ที่ได้รับใน วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย





ทักษะที่ได้รับ
   - ได้รับความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก


การนำไปประยุกต์ใช้
    1. นำสิ่งที่ได้เรียนไปปรับใช้่ในการเป็นครู
    2. นำสิ่งที่ได้ไปเป็นแนวทางในการสอนเด็ก



การเข้าเรียนครั้งที่ 16

วันที่ 18 กันยายน 2556


กิจกรรมการเรียนการสอน

องค์ความรู้ที่ได้รับ

- หลังจากที่ได้เขียนแผน cooking ครั้งที่แล้ว.....วันนี้กลุ่มเรียนของเราลงมือทำ "ไข่ตุ๋น" 

- ขั้นตอนการจัดประสบการณ์ cooking ไข่ตุ๋นแฟนซี

   1. ครูให้เด็กๆนั่งเป็นครึ่งงวงกลม
   2. ครูจัดเตรียมอุปกรณ์ไว้หน้าชั้นเรียน โดยใช้คำถามว่า
        - เด็กเห็นไหมค่ะ วันนี้คุณครูมีอะไรมา?
        - เด็กคิดว่าว่านี้เราจะมาทำกิจกรรมอะไรกันค่ะ? 
        - เด็กๆ เคยทานหรือทำไข่ตุ๋นกันไหมค่ะ? เด็กๆคิดว่ามันจะเป็นอย่างไรค่ะ?
   3. ครูแนะนำวัสดุ-อุปกรณ์ในการประกอบอาหาร


วัสดุ - อุปกรณ์

ครูถามเด็ก และ แนะนำวัสดุ-อุปกรณ์

   4. คุณครู ใช้คำถามหาอาสาสมัครมาหั่นผัก "เด็กๆคนไหนอยากหั่นผักให้คุณครูบ้างค่ะ"



   5. เริ่มทำไข่ตุ๋น  โดยการตีไข่ให้เข้ากัน  ใส่แครอท  ผักชี  ต้นหอมและปูอัดลงในถ้วย  และใส่ซีอิ๊วขาวเพิ่มความอร่อย 




    6. นำถ้วยไข่ตุ๋นใส่ในหม้อนึ่ง รอประมาณ 15-20 นาที   ระหว่างการรอไข่ตุ๋นสุกนั้นครูและเด็กๆร่วมกันสนทนาถึงการทำไข่ตุ๋นครั้งนี้
    


   7. ไข่ตุ๋นฝีมือของเด็กๆเสร็จแล้ว



ทักษะที่ได้รับ

1. ได้ทำไข่ตุ๋นเป็น
2. ได้รับประสบการณ์ในการทำที่แปลกใหม่
3. ได้เข้าใจในการสอนทำอาหารของเด็กปฐมวัย


การนำไปประยุกต์ใช้

1. นำกิจกรรมไปสอนเด็กได้
2. การนำวิธีการสอนไปใช้ในอานาคต


        

การเข้าเรียนครั้งที่ 15 (เรียนชดเชย)

วันที่ 15 กันยายน 2556

เรียนชดเชยครั้งที่1

กิจกรรมการเรียนการสอน

องค์ความรู้ที่ได้รับ

- อาจารย์พูดถึงเรื่องการตรวจบล็อก ให้นักศึกษาปรับปรุงของแต่ละคน
- ทำกิจกรรมกลุ่ม "เขียนแผนการสอนทำอาหารสำหรับเด็ก"

กลุ่มของพวกเราทำข้าวผัด U.S.A.




ภาพนำเสนอแผนการสอนข้าวผัด U.S.A.




ทักษะที่ได้รับ

1. ได้ประสบการณ์ในการเขียนแผนการทำอาหาร
2. ได้ทำงานร่วมกันเป็นทีมแลกเปลี่ยนประสบการณ์กัน


การนำไปประยุุกต์ใช้

1. นำการเขียนแผนไปใช้ในการฝึกวิชาชีพ
2. นำเทคนิคการทำอาหารมาใช้